พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ป่าเนื้อ ( ป่าเป็นให้อภัยแก่เนื้อ ) ชื่อกัณณกัตถละ ใกล้นครอุทัญญา. พระเจ้าปเสนทิโกศลมีพระราชกรณียกิจอย่างใดอย่างหนึ่ง เสด็จไปถึงพระนครนั้นโดยลำดับ ทรงทราบว่าพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ที่นั้น จึงส่งราชบุรุษไปกราบทูลว่า จะเสด็จไปเฝ้าหลังเสวยแล้ว. พระนางโสมาและพระนางสกุลาซึ่งเป็นพระภคิณี จึงกราบทูลขอให้พระเจ้าปเสนทิโกศลถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าและทูลถามถึง ความสุขแทนพระนางด้วย. พระเจ้าปเสนทิโกศลไปเฝ้ากราบทูลข้อที่พระนางทั้งสองสั่งให้กราบทูล. พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า สองพระนางหาทูตอื่นไม่ได้หรือ. ตรัสตอบว่า พระนางทั้งสองเห็นว่าหม่อมฉันจะมาเฝ้าจึงฝากกราบทูล.
ไม่เสพกามคุณ, ไม่ใช้ให้ผู้อื่นเสพ, ไม่ยินดีต่อผู้เสพ และทรงแสดงการเสพเสนาสนะ ( ที่นอนที่นั่งหรือที่อยู่อาศัย ) อันสงัด นั่งทำสติกำจัดนิวรณ์ ๕ คือ ๑. อภิชฌา ๑๑ ( ความอยากได้ ) ๒. พยาบาท ( ความปองร้าย) ๓. ถีนมิทธะ ( ความหดหู่ง่วงงุน) ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ( ความฟุ้งสร้านรำคาญใจ) ๕. วิกิจฉา ( ความลังเลสงสัย).
ตอบว่า ไม่เป็นอันเดียวกัน . ถ้าเป็นอันเดียวกัน การออกจาก(จากสมาบัติ ) ของภิกษุผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ( สมาบัติดับสัญญาและเวทนา ) ก็ไม่พึงปรากฏ , แต่เพราะเป็นสิ่งอื่นจากกันจึงปรากฏได้. พระผู้มีพระภาคทรงสนทนาด้วยธรรมิกถากับพระเถระเหล่านั้นพอสมควรแล้วก็เสด็จ หลีกไป.
แล้วทรงแสดงวิธีปฏิบัติต่อพระพุทธสรีระ เช่นเดียวกับพระสรีระของพระเจ้าจักรพรรดิ์ ในเมื่อพระอานนท์กราบทูลถาม โดยทรงแสดงว่า ให้ห่อด้วยผ้าใหม่ แล้วห่อด้วยสำลี แล้วห่อด้วยผ้าใหม่ แล้วห่อด้วยสำลี รวม ๕๐๐ ชั้น แล้วใส่ในรางเหล็กเต็มด้วยน้ำมัน ปิดด้วยรางเหล็ก ทำจิตกาธานด้วยของหอมแล้ว ทำการเผา สร้างสตูปไส้ในทางสี่แพร่ง. ต่อจากนั้นเสด็จสู่หัตถิคาม , อัมพคาม และโภคนคร โดยลำดับ ณ โภคนคร ทรงแสดงมหาปเทส ( หลักอ้างอิงสำหรับสอบสวนข้ออ้างของผู้อื่นที่ว่า เป็นธรรมเป็นวินัย เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ) ๔ ประการ โดยให้สอบกับพระสูตรเทียบกับพระวินัยก่อน. แล้วพราหมณ์ปุโรหิตได้แสดงถึงการบันเทาความเดือดร้อนใจของผู้บูชายัญที่จะ พึงมีในฝ่ายผู้รับทาน ๑๐ ประการ คือผู้ฆ่าสัตว์, ผู้ลักทรัพย์. ผู้ผิดในกาม, ผู้พูดปด, ผู้พูดเสียด, ผู้พูดคำหยาบ, ผู้พูดเพ้อเจ้อ. ผู้ละโมภบอยากได้ของคนอื่น , ผู้พยาบาทปองร้ายผู้อื่น , ผู้เห็นผิดทำนองคลองธรรม อาจมาสู่ยัญญพิธี โดยตั้งใจว่ายัญนี้อุทิศผู้ที่ปฏิบัติดี ตรงกันข้ามกับฝ่ายชั่ว ๑ ประการ.
ตรัสสอนพระราหุลในระหว่างที่ท่านตามเสด็จไปบิณฑบาตในเวลาเช้าว่า พึงพิจารณาเห็นรูปทุกชนิด ทั้งอดีต อนาคต ปัจจุบัน, ภายใน ภายนอก, หยาบละเอียด, เลว ดี, ไกล ใกล้ ว่ารูปทั้งหมดนั้น มิใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา. พระราหุลกลับจากที่นั้น นั่งคู้บัลลงก์ ( ขัดสมาธิ ) ณ โคนไม้ตันหนึ่ง ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า พระสารีบุตรเห็นเข้าจึงสอนให้เจริญอานาปาปานสติ ( สติกำหนดลมมหายใจเข้าออก). ในเวลาเย็นพระราหุลออกจากที่เร้น เข้าไปเฝ้ากราบทูลถามถึงวิธีเจริญอานาปานสติที่จะมีผลมาก มีอานิสงส์มาก. อริยสาวกผู้รู้เห็นอย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่าย คลายกำหนัด และหลุดพ้น . ต่อจากนั้นทรงแสดงข้อเปรียบเทียบภิกษุผู้หลุดพ้นในทำนองผู้ชนะศึกที่ตีเมือง อื่นได้.
จึงตรัสแสดงข้อปฏิบัติต่อไป โดยเท้าความการปฏิบัติข้างต้น แล้วแสดงการได้ผล คือการระลึกชาติได้ ตั้งแต่ ๑ ชาติถึงแสนชาติและหลายกัปป์ แล้วตรัสว่า เป็นเพียงกะพี้. ซึ่งพระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ในข้อ ๑ พระองค์ได้ตรัสถามเขาว่า พระองค์ได้เคยขอร้องให้เขามาอยู่อุทิศพระองค์ ๔ หรือว่าเขาเคยมากราบทูลว่า จะอยู่อุทิศพระองค์บ้างหรือเปล่า เขาตอบว่า เปล่า. เมื่อเป็นเรื่องเปล่า จึงมิไช่เรื่องจะบอกเลิกใคร. ทสุตตรสูตร ว่าด้วย ‘หมวดธรรมอันยิ่งขึ้นไปจนถึงสิบ ’ เป็นการแสดงธรรมของพระสารีบุตรจำแนกธรรมหมวดหนึ่ง หมวดสอง จนถึงหมวดสิบ ซึ่งเป็นตัวอย่างแห่งการร้อยกรองพระธรรมวินัยได้ดี เช่น สังคีติสูตร.
แต่ในสมัยอื่นจะไม่ทำเช่นนั้น เพราะสำเร็จประโยนช์แล้วจึงไม่ต้องทำเช่นนั้นอีก เปรียบเหมือนช่างศรอย่างลูกศร ดัดลูกศรที่ง่ามไม้ ทำให้ตรงใช้การได้ ภายหลังก็ไม่ต้องย่าง หรือดัดซ้ำอีกอย่างนี้ก็เป็นอีกประการหนึ่งที่ความพยายามความเพียรชื่อว่ามี ผล. ในข้อ ๔ เรื่องการบรรลุความจริง ทรงแสดงถึงการส้องเสพ ทำให้มากซึ่งธรรมะ ( ที่ได้สดับ ได้ทรงจำไว้ได้เหล่านั้น). และได้ทรงแสดงธรรมอันเป็นอุปการะแก่การบรรลุสัจจะ มีความเพียร , การชั่ง หรือไตร่ตรอง เป็นต้น ตามที่มาณพทูลถาม. ส่วนการประพฤติพรหมจรรย์ที่ไม่น่าพอใจ ๔ อย่าง ๑. ศาสดาอ้างว่าตนเองเป็นสัพพัญญู มีญาณทัสสนะสมบูรณ์ แต่ช่วยตัวเองไม่ได้ ๒.
บุคคลทำไว้ในใจว่า ไม่มีอะไร เข้าถึงอากิญจัญญายตนะ. เพราะเวทนา ( ความรู้สึกที่เกิดจากสัมผัสทางตา หู เป็นต้น) เป็นปัจจัย จึงมีตัณหา. เมื่อพระโพธิสัตว์ประสูติได้ ๗ วันแล้ว พระมารดาย่อมสวรรคต เข้าสู่สวรรค์ชั้นดุสิต. พระมารดาพระโพธิสัตว์มีลาภ บริบูรณ์ด้วยกามคุณ ๕ ( รูป , เสียง , กลิ่น , รส, โผฏฐพพะ). บางข้อเรากล่าวว่าดี พวกอื่นกล่าวว่าไม่ดี บางข้อเรากล่าวว่าไม่ดี พวกอื่นกล่าวว่าดีก็มี. ตรัสถามว่า ถ้าลดลงเสียอีก ๑ เหลือ ๓ จะลดอะไร โสณทัณฑพรามหณ์ลดข้อท่องจำมนต์.
ทูลตอบว่า ที่เป็นอกุศล. ที่เป็นอกุศลเป็นอย่างไร. ทูลตอบว่า ที่มีโทษ. ที่มีโทษเป็นอย่างไร. ทูลตอบว่า ที่มีการเบียดเบียน.
เมื่อคฤหบดีขอให้ทรงอธิบาย จึงตรัสอธิบาย. ตรัสขยายความการสมาทานธรรมะทั้งสี่ข้อนั้นดังนี้ ข้อ ๑ การสมาทานธรรมะที่มีสุขในปัจจุบัน มีทุกข์ต่อเป็นวิบากไป คือพวกพราหมณ์บางพวกมีวาทะ มีความเห็นว่า โทษในกามทั้งหลายไม่มี จึงดื่มด่ำในกามทั้งหลาย เมื่อตายไปก็เข้าถึงอบาย ทุกคติ วินิบาต นรก ได้รับทุกขเวทนา. ข้อ ๒ การสมาทานธรรมะที่มีทุกข์ในปัจจุบัน มีทุกข์เป็นวิบากต่อไป คือสมณพราหมณ์บางพวกที่ประพฤติพรตทรมานกายต่าง ๆ เช่น เปลือยกาย เป็นต้น จนถึงลงอาบน้ำวันละ ๓ ครั้ง ( มีเวลาเย็นเป็นครั้งที่ ๓ ) เมื่อตายไปก็เข้าถึงอบาย ทุคคติ วินิบาต นรก.
เห็นสัตว์อื่นตายเกิดด้วยตาทิพย์ ( เรียกว่าทิพย์จักษุ หรือจุตูปปาตญาณ คือญาณรู้ความตาย และความเกิดของสัตว์). เห็นว่าการเพียบพร้อมด้วยกามคุณ ๕ เป็นนิพพานอย่างยอดในปัจจุบัน. ๒, ๓, ๔, ๕ เห็นว่าการเพียบพร้อมด้วยฌานที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๓ ที่ ๔ เป็นนิพพานอย่างยอดในปัจจุบัน. ตนทั้งสิบหกประเภทนี้ ตายไปแล้ว ก็มีสัญญา คือความจำได้หมายรู้ทั้งสิ้น.
ในฌานที่ ๓ สัญญาอันสุขุม อันเป็นสัจจ์ ในปิติและสุขอันเกิดแต่สมาธิ ย่อมดับไป สัญญาอันสุขุม อันเป็นสัจจ์ในอุเบกขา ( ความวางเฉย ) และสุขย่อมมีในสมัยนั้น. “ ในหมู่ชนที่ถือโคตร กษัตริย์ประเสริฐสุด แต่ผู้ใดสมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ ( ความรู้สึกและความประพฤติ) ผู้นั้นประเสริฐสุดในเทวดาและมนุษย์ .” ( สุภาษิตนี้ ถือว่าความรู้ความประพฤติสำคัญกว่าชาติสกุล ). เห็นว่าตัวตน และโลกเที่ยง เพราะระลึกชาติได้มากกัปป์ ๆ ตั้งแต่ ๑๐ กัปป์ถึง ๔๐ กัปป์. เห็นว่าตัวตน และโลกเที่ยง เพราะระลึกได้เป็นกัปป์ ๆ ตั้งแต่กัปป์เดียวถึง ๑๐ กัปป์.
และทรงแจกรายละเอียดว่า ความไม่เบียดเบียนจึงเป็นไปเพื่อดับเย็น ( ปรินิพพาน ) ของผู้เบียดเบียน เป็นต้น. ตรัสสอนว่า เพียงแต่คิดในการกุศลธรรม ก็ยังมีอุปการะมาก จึงไม่ต้องกล่าวถึงการลงมือทำด้วยกายและวาจา . ฉะนั้น จึงควรคิดว่า คนอื่นเขาเบียดเบียน เราจักไม่เบียดเบียน เป็นต้น.
หมวด ๑๐. ธรรมะ ที่ทำที่พึ่ง ( นาถกรณธรรม ) ๑๐ คือ ๑. มีศีล สำรวมปาฏิโมกข์ ( ศีลที่เป็นประธาน ) ๒. สดับตรับฟังมาก ทรงจำได้ดี ๓.
เมื่อตายไปก็เข้าถึงอบาย , ทุคคติ , วินิบาต , นรก เพราะประพฤติทุจจริตทางกายวาจาใจที่มีกามเป็นเหตุ เป็นโทษของกาม เป็นกองทุกข์ในอนาคต . ทรงแสดงการนำความพอใจความกำหนัดยินดีในกามออกเสียว่า เป็นการพ้นไปจากกาม . สมณะพราหมณ์ที่ไม่รู้เรื่องเหล่านี้ตามเป็นจริงที่กำหนดรู้กามด้วยตนเอง หรือชักชวนผู้อื่นเพื่อกำหนดรู้ ซึ่งผู้อื่นปฏิบัติตามแล้ว จักกำหนดรู้กาม ย่อมเป็นไปไม่ได้. ต่อเมื่อรู้ตามความจริง จึงกำหนดรู้กามด้วยตนเองหรือชักชวนผู้อื่นให้กำหนดรู้ได้. ในเรื่องที่เกี่ยวกับความเป็นผู้รู้สิ่งทั้งปวง พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ไม่มีสมณะ หรือพราหมณ์ที่รู้เห็นทุกสิ่งทุกอย่างคราวเดียวกัน.
ครั้นแล้วตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายมา ตรัสสรรเสริญพระอานนท์ว่า ภิกษุผู้อุปฐาก ( รับใช้ ) พระพุทธเจ้าทั้งในอดีตและในอนาคต ก็อย่างยิ่งเพียงเท่าพระอานนท์. ทรงสรรเสริญว่า พระอานนท์เป็นบัณฑิต รู้กาลที่ควรจะจัดให้ใครเข้าเฝ้า และเป็นที่พอใจใคร่สดับธรรมของบริษัท ๔. ( หมายเหตุ พระสูตรนี้ หรือหลาย ๆ สูตรที่แล้วมาแสดงว่า การถือศาสนาตามตำรา เช่น เรื่องพระพรหมนั้นยังไม่พอ ควรเอาความรู้ความประพฤติเข้าจับด้วย หมายความว่า ต้องรู้ ต้องเข้าใจปฏิบัติให้เห็นผลได้จริง ๆ ไม่ใช่ทำอะไรตาม ๆ กัน โดยไม่รู้อะไรจริง). จึงตรัสถามว่า เมื่อเป็นเช่นนี้ ถ้อยคำของพราหมณ์ผู้รู้ไตรเวท จึงชื่อว่าไม่มีปาฏิหาริย์ ( เลื่อนลอยไม่มีหลักฐาน ) ใช่หรือไม่ . กราบทูลว่า ใช่ . จึงตรัสต่อไปว่า เมื่อไม่รู้ไม่เห็น แต่แสดงทางตรงเพื่อไปสู่ความอยู่รวมกันพระพรหม จึงมิใช่ฐานะที่จะเป็นจริงได้.
อัมพัฏฐมาณพตอบว่า ฤษีรุ่นก่อน ๆ ไม่ทำอย่างนี้ จึงสรุปให้เห็นว่า อัมพัฏฐมาณพ พร้อมทั้งอาจารย์มิได้เป็นฤษี หรือผู้ปฏิบัติเพื่อเป็นฤษี. ตรัสแสดงธรรมแก่ภิกษุทั้งหลายถึงสมณพราหมณ์บางพวกที่มีความเห็นปรารภส่วนสุด เบื้องปลาย ( เมื่อตาย ) คือ ๑. อัตตาที่มีความจำได้หมายรู้ ย่อมไม่มีโรคหลังจากตายแล้ว ๒. อัตตาที่ไม่มีความจำได้หมายรู้ ย่อมไม่มีโรคหลังจากตายแล้ว ๓.
ครั้นวันรุ่งขึ้นพระอานนท์ไปเยี่ยม สุภมาณพจึงถามว่า ท่านอุปฐากพระโคดมผู้เจริญมานาน พระโคดมสรรเสริญธรรมอะไร และชักชวนประชุมชนให้ตั้งอยู่ในธรรมอะไร. พระอานนท์ตอบว่า พระผู้มีพระภาคทรงสรรเสริญกองศีล สมาธิ ปัญญา อันเป็นอริยะ และทรงชักชวนประชุมชนให้ตั้งอยู่ในกองศีล สมาธิ ปัญญา อันเป็นอริยะนี้. สุภมาณพถามให้อธิบายถึงกองศีล ( สีลขันธ์ ) กองสมาธิขันธ์ ) และกองปัญญา ( ปัญญาขันธ์) อันเป็นอริยะโดยลำดับ. โปกขรสาติพราหมณ์พิจารณาพระพุทธลักษณะและได้เห็นครบ ๓๒ ( ต้องตามลักษณะมนต์ของตน) แต่ ๒ ข้อเห็นไม่ได้ พระผู้มีพระภาคต้องทรงแสดงฤทธิ์และทำให้เห็น แล้วจึงอาราธนาพระผู้มีพระภาคพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ไปฉันในวันรุ่งขึ้น และเช้าวันรุ่งขึ้น เมื่อถวายภัตตาหารแล้ว ได้สดับพระธรรมเทศนาเรื่องอนุบุพพิกา ๒. และอริยสัจจ์ ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงประกาศตน พร้อมทั้งบุตร ภริยา บริษัทและอำมาตย์เป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต.
ในข้อนั้นวิญญูชนพิจารณาเห็นว่า ถ้าโลกหน้าไม่มี คนคนนี้ตายแล้วจักทำตนให้ปลอดภัยได้ แต่ถ้าโลกหน้ามี ก็จักเข้าถึงอบาย ทุคคติ วินิบาต นรก. แม้แต่สมณพราหมณ์จะกล่าวไว้ว่า โลกหน้ามี ถ้อยคำของสมณพราหมณ์เหล่านั้นจะเป็นจริงหรือไม่ จงยกไว้ แต่คนนั้นก็ถือเอาโทษ ๗ . ทั้งสองฝ่าย คือถูกติเตียนในปัจจุบัน และตายไปก็จักเข้าถึงอบาย ทุคคติ วินิบาต นรก.
ปัญจสิขะ บุตรแห่งคนธรรพ์ เล่าถวายพระผู้มีพระภาคอีกต่อหนึ่ง. พระกัสสปพุทธเจ้าทรงสมภพในสกุลพราหมณ์ ในภัททกัปป์นี้ มีพระนามโดยพระโคตรว่า กัสสปะ มีประมาณแห่งอายุ ๒ หมื่นปี ตรัสรู้ ณ โคนไม้นิโครธ ( ไทร). มีคู่อัครสาวกนามว่า ติสสะ กับภารัทวาชะ. มีการประชุมสาวกครั้งเดียว มีภิกษุ ๒ หมื่นรูป ล้วนเป็นพระขีณาสพ . มีภิกษุเป็นยอดพุทธอุปฐาก ชื่อสัพพมิตตะ. มีพระพุทธบิดาเป็นพราหมณ์นามว่า พรหมทัตตะ พระพุทธมารดาเป็นพราหมณีนามว่า ธนวตี มีพาราณสีนครของพระเจ้ากิงกิเป็นราชธานี.
อภยราชกุมารไปเฝ้าพระผู้มีพระภสค มองดูดวงอาทิตย์เห็นยังไม่ใช่กาลอันสมควรที่จะยกวาทะจึงนิมนต์พระผู้มีพระ ภาคให้ไปฉันในวันรุ่งขึ้น โดยมีพระองค์เองเป็นที่ ๔ ( คือมีภิกษุอื่นด้วยอีก ๓ รูป ). เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงรับนิมนต์ และเสด็จไปฉันเสร็จแล้ว อภยราชกุมารก็กราบทูลถามขึ้นว่า พระตถาคตตรัสวาจาอันไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่พอใจของคนอื่นหรือไม่. ตรัสตอบว่า ในข้อนี้ มิใช่ปัญหาที่พึงตอบโดยแง่เดียว.
สมัยนั้นสุภมาณพบุตรโตเทยยพราหมณ์ มีธุระบางอย่างไปพักในกรุงสาวัตถี ทราบว่าพระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม จึงไปเฝ้า ทูลถามว่า พวกพราหมณ์กล่าวว่า คฤหัสถ์จึงได้บรรลุญายธรรม ( ธรรมที่ถูกต้อง ) อันเป็นกุศล ส่วนบรรพชิตมิได้บรรลุดังนี้ ๗ . พระสมณโคดมตรัสในเรื่องนี้อย่างไร. ตรัสตอบว่า พระองค์เป็น “ วิภชวาทะ ” ( ผู้กล่าวจำแนกตามเหตุผล) มิใช่ “เอกังสวทะ” ( ผู้พูดในแง่เดียว ) ในเรื่องนี้.
จึงทรงบำเพ็ญฌานสงบความตรึกทางกาม ความตรึกทางพยาบาท และความตรึกทางเบียดเบียน ได้บรรลุฌานที่ ๑ ถึงฌานที่ ๔ ทรงแผ่พระมนัสอันประกอบด้วยเมตตา ( คิดให้เป็นสุข ) กรุณา ( คิดให้พ้นทุกข์ ) มุทิตา ( พลอยยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี) และอุเบกขา ( วางใจเป็นกลาง ) ไปทั่งสี่ทิศ. เมื่อเสด็จข้ามแม่น้ำคงคาแล้ว ได้เสด็จต่อไป (ในแคว้นวัชชี ) สู่โกฏิคาม . ณ ที่นั้นทรงแสดงธรรมเรื่องอริยสัจจ์ ๔ และแสดงเรื่องศีล สมาธิ ปัญญา โดยมาก ต่อจากนั้นได้เสด็จไปพัก ณ โรงพักคนเดินทางทำด้วยอิฐ ในนาทิกคาม. ณ ที่นั้นทรงแสดงธรรมปรารภคำถามของพระอานนท์ที่ว่า ผู้นั้นผู้นี้ตายไป มีคติเป็นอย่างไร โดยแสดงหลักธรรมที่ผู้ประพฤติปฏิบัติอาจพยาการณ์ตนเองได้ว่า จะพ้นคติที่ตกต่ำหรือไม่ และแม้ ณ นาทิกคามนั้น ก็ทรงแสดงเรื่องศีล สมาธิ ปัญญา โดยมาก. เมื่อวิปัสสีกุมารประสูติแล้ว พระเจ้าพันธุมา พุทธบิดา ก็ตรัสให้เชิญพวกพราหมณ์ผู้รู้ลักษณะมาทำนาย.
ที่มีการเบียดเบียนเป็นอย่างไร ทูลตอบว่า ที่มีผลเป็นทุกข์. ที่มีผลเป็นทุกข์เป็นอย่างไร ทูลตอบว่า ที่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนบ้าง เบียดเบียนผู้อื่นบ้าง เบียดเบียนทั้งสองฝ่ายบ้าง. อกุศลธรรมย่อมเจริญ กุศลธรรมย่อมเสื่อมเมื่อมีผู้ประพฤติเช่นนั้น ส่วนในทางดี พึงทราบโดยนัยตรงกันข้าม.
สิ่งใดที่เขาพูดกันในโลก ก็พูดตามโวหารนั้น แต่ไม่ยึดถือ. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ป่าไม้ทองกวาว ใกล้หมู่บ้านชื่อนฬกปานะ. สมัยนั้นกุลบุตรผู้มีชื่อเสียงออกบวชอุทิศพระผู้มีพระภาคหลายท่านด้วยกัน คือ พระอนุรุทธ์ , พระภัททิยะ , พระกิมพิละ , พระภัคคุ, พระโกณฑัญญะ , พระเรวตะ, พระอานนท์ และกุลบุตรผู้มีชื่อเสียงอื่น ๆ . พระผู้มีพระภาคมีภิกษุสงฆ์แวดล้อมประทับในกลางแจ้ง ตรัสถามภิกษุเหล่านั้นว่า ผู้ที่ออกบวชอุทิศเรา ยินดียิ่งในพรหมจรรย์ละหรือ ? ตรัสถามถึง ๓ ครั้ง ภิกษุเหล่านั้นก็นิ่งอยู่. ต่อมาตรัสสอนให้ภิกษุทั้งหลายเลิกฉันอาหารในเวลากาลกลางคืน ท่านก็เสียใจ.
ทรงแสดงข้อปฏิบัติที่ ๓ อันเป็นที่สบายแก่อาเนญชะ แต่เพิ่มการพิจารณารูปและรูปสัญญา ( ความกำหนดหมายรูป ) ให้เห็นไม่เที่ยง ไม่ควรยินดี . มาณพได้ทูลได้ทูลถามถึงเรื่องเทวดาอีกเล็กน้อย เมื่อตรัสตอบแล้ว ก็ทูลสรรเสริญพระธรรมเทศนาแสดงตนเป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอด ชีวิต. (๓) ธรรมอันเป็นอกุศล ๑๐ อย่าง คือฆ่าสัตว์, ลักทรัพย์ , ประพฤติผิดในกาม, พูดปุด , พูดส่อเสียด ( ยุให้เขาแตกร้าวกัน ), พูดคำหยาบ , พูดเพ้อเจ้อ, อยากได้ของเขา, ปองร้ายเขา เห็นผิด ( จากคลองธรรม ). วัจฉโคตตปรินิพพาชกทูลถามเป็นข้อ ๆ ว่า ๑.
พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ป่ามะม่วงของปาวาริกะ ใกล้เมืองนาฬันทา . ณ ที่นั้น บุตรคฤหบดีชื่อเกวัฏฏะเข้าไปเฝ้า ขอให้ทรงชวนภิกษุผู้แสดงอิทธปาฏิหาริย์ได้ให้แสดง ก็จะมีคนเลื่อมใสในพระผู้มีพระภาคยิ่งขึ้น. ครั้น แล้วตรัสสรุปให้เห็นว่า พระองค์กล้าบรรลือสีหนาทในท่ามกลางบิรษัท กล้าตอบปัญญา และทำให้ผู้เลื่อมใสปฏิบัติตามได้ ( เพราะทรงประพฤติปฏิบัติได้ผลมาเองในเรื่องศีล สมาธิ ปัญญา ข้างบนนั้น). องค์พระเจ้ามหาวิชิตะเอง ประกอบด้วยคุณสมบัติ ๘ ประการ คือ ๑. มีชาติดี ๒ มีรูปร่างงาม ๓. มีทรัพย์มาก ๔.
ความหมายของคำว่า วิญญาณ คือรู้แจ้ง ได้แก่รู้แจ้งสุข ทุกข์ ไม่ทุกข์ไม่สุข. จบ วรรคที่ ๓ ขึ้นวรรคที่ ๔ ชื่อมหามกวรรค คือวรรคที่มีสูตรคู่ขนาดใหญ่ ( คู่กับ จูฬยมกวรรค คือวรรคที่มีสูตรคู่ขนาดเล็กซึ่งอยู่ถัดไป ) มี ๑๐ สูตร. ธรรม ๒ อย่าง มีอุปการะมาก คือ ๑. สติ ความระลึกได้ ๒. สัมปชัญญะ ความรู้ตัว ฯลฯ.
มีหูทิพย์ ๗. กำหนดรู้จิตใจของผู้อื่น ๘. ระลึกชาติได้ ๙. มีตาทิพย์ ๑๐. ทำอาสวะให้สิ้น. พระสารีบุตรจึงถามว่า ผู้ประะพฤติไม่เป็นธรรม ประพฤติผิด เพราะเหตุแห่งมารดาบิดา เป็นต้น นายนิรยบาลจะยอมให้แก้ตัวอย่างนั้นหรือไม่ ตอบว่า ไม่ได้.
เปรียบเหมือนชาย ๒ คนชวนกันไปยังชนบทเพื่อหาทรัพย์ ไปพบป่านในระหว่างทางก็ห่อป่านเดินทางไป ครั้นไปพบด้ายที่ทอจากป่าน คนหนึ่งเห็นด้ายมีราคากว่าก็ทิ้งป่านห่อด้ายไป อีกคนหนึ่งไม่ยอมทิ้ง ด้วยถือว่าแบกมาไกลแล้ว ผูกรัดไว้ดีแล้ว. โดยนัยนี้ไปพบผ้าเปลือกไม้. ผ้าฝ้าย , เหล็ก , โลหะ , ดีบุก ตะกั่ว, เงิน, ทอง คนหนึ่งทิ้งของเก่าถือเอาของใหม่ที่มีราคากว่า แต่อีกคนหนึ่งไม่ยอมทิ้ง ถือว่าแบกมาไกลแล้วผูกรัดไว้ดีแล้ว เมื่อกลับไปถึงบ้าน บุตร ภริยา เพื่อนฝูงแบกห่อป่าน ก็ไม่ชื่นชม แต่บุตร จริยาเพื่อนฝูงของผู้แบกห่อทองกลับมา ต่างชื่นชม. พระองค์จะเป็นอย่างผู้แบกห่อป่าน ขอจงสละความเห็นผิดนั้นสียเถิด. พระอานนท์กราบทูลถามว่า อย่าปรินิพพานในกรุงกุสินารานี้ ซึ่งเป็นเมืองเล็ก เมืองดอย เป็นกิ่งเมือง ขอให้เสด็จไปปรินิพพานในเมืองใหญ่ ๆ เช่น จัมปา ราชคฤห์ สาวัตถี โกสัมพี พาราณสี แต่ตรัสตอบว่า กรุงกุสินารา เคยเป็นราชธานีนามว่า กุสาวตี ซึ่งพระเจ้ามหาสุทัสสนะจักรพรรดิ์ทรงปกครองเคยเจริญรุ่งเรืองยิ่งมาแล้ว . ครั้นแล้วตรัสสั่งให้พระอานนท์ไปแจ้งข่าวที่จะปรินิพพานแก่มัลลกษัตริย์ซึ่ง พากันเศร้าโศก และมาเฝ้าในราตรีนั้น พระอานนท์ก็จัดให้เข้าถวายบังคมเป็นครอบครัวไป เสร็จสิ้นภายในยามแรกแห่งราตรี.
ไม่พึงเข้าบ้านเกินเวลา พึงกลับแต่ยังวัน ๔. ไม่พึงเที่ยวไปในสกุลก่อนหรือหลังอาหาร ๓. ตถาคตพูดได้อย่างใด ทำได้อย่างนั้น ทำได้อย่างใด พูดได้อย่างนั้น. พิจารณาขันธ์ ๕ คือ รูป , เวทนา , สัญญา , สังขาร, วิญญาณ ( ขันธบรรพ ).